สกรูเกลียวปล่อยเบอร์ต่างๆ มันโตเท่าไหร่กันแน่นะ?
อัพเดทล่าสุด: 26 มี.ค. 2024
2396 ผู้เข้าชม
ก่อนอื่น เรามาทำความรู้จัก มาตรฐานอเมริกัน (Imperial) กับ มาตรฐานเมตริก (Metric) กันก่อน
มาตรฐานอเมริกัน (Imperial / American Standards):
ระบุขนาดด้วยเบอร์ (มักจะใช้สัญลักษณ์ #) ตามด้วยตัวเลข
ตัวเลขมีไว้สำหรับอ้างอิง เส้นผ่านศูนย์กลางเกลียว (d) ของสกรู (หน่วยเป็นนิ้ว)
ตัวอย่าง: #6 หมายถึง เส้นผ่านศูนย์กลางเกลียว 0.138 นิ้ว
มาตรฐานเมตริก (Metrics Standards):
ระบุขนาดด้วยตัวอักษร M ตามด้วยตัวเลข
ตัวเลขหมายถึง เส้นผ่านศูนย์กลางเกลียว (d) ของสกรู (หน่วยเป็นมิลลิเมตร)
ตัวอย่าง: M6 หมายถึง เส้นผ่านศูนย์กลางเกลียว 6 มม.
มาตรฐานอเมริกัน | เส้นผ่านศูนย์กลางเกลียว (d) โดยประมาณ |
#4 | 2.80 มม. |
#5 | 3.25 มม. |
#6 | 3.50 มม. |
#7 | 3.80 มม. |
#8 | 4.10 มม. |
#10 | 4.70 มม. |
#12 | 5.40 มม. |
#14 | 6.20 มม. |
สกรูเปลียวปล่อยเหล็กหัว PH #10 x 1-1/2 นิ้ว เทียบเท่ากับ 4.70mm x 38mm (ความยาวไม่รวมส่วนหัว)
คำแนะนำ:
- ตรวจสอบขนาดสกรูเกลียวปล่อยให้ตรงกับมาตรฐานที่ใช้งาน
- เลือกขนาดสกรูให้เหมาะสมกับงาน
- หากไม่แน่ใจ แชทกับเราเลย
ชมคลิป สกรูเกลียวปล่อยเบอร์ต่างๆ คือ อะไรกันนะ? วัดยังงัยดี?
บทความที่เกี่ยวข้อง:
บทความที่เกี่ยวข้อง
สกรูเจาะตัวเองเป็นอุปกรณียึดที่สำคัญในอุตสาหกรรมก่อสร้าง การผลิต และอุตสาหกรรมต่างๆ คู่มือนี้จะนำเสนอการวิเคราะห์เชิงลึกของหัวสกรูที่มีความนิยมในประเทศไทยสูงสุด 3 ประเภท:
3 ธ.ค. 2024
ในวงการอุตสาหกรรมและงานก่อสร้าง หัวน็อตถือเป็นอุปกรณ์ยึดติดที่มีความสำคัญอย่างมาก แต่หลายคนอาจสงสัยว่าระหว่าง "หัวน็อตดำชุบขาว" กับ "หัวน็อตมิลขาว" นั้นมีความแตกต่างกันอย่างไร เพราะดูภายนอกก็เหมือนๆ กัน วันนี้เราจะมาไขข้อข้องใจกัน
20 พ.ย. 2024
เปรียบเทียบสกรูแข็ง เกรด 8.8, 10.9 และ 12.9 เราขออธิบายความแตกต่างตามหลักวิศวกรรม ของสกรูแข็ง เกรด 8.8, 10.9 และ 12.9 พร้อมตารางเปรียบเทียบค่าความแข็ง (Hardness) และ แรงดึง (Tensile) ดังนี้
4 ก.ย. 2024