หน้ากากมาตรฐาน N95 แตกต่างกับหน้ากากที่มีมาตรฐาน P2, KN95 และ FFP2 อย่างไร?
อัพเดทล่าสุด: 2 มิ.ย. 2024
880 ผู้เข้าชม
มาตรฐานหน้ากาก ที่กล่าวมา ล้วนเป็นมาตรฐานที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพของหน้ากากอนามัย ในการป้องกันผู้สวมใส่จากฝุ่นละอองขนาดเล็ก ละอองลอย และเชื้อโรค
แต่ละมาตรฐานมีที่มาจากภูมิภาคที่แตกต่างกัน และมีเกณฑ์การทดสอบ ประสิทธิภาพการกรอง และการรับรองที่แตกต่างกัน
ดังตารางนี้:
สรุป:
- N95, KN95 และ FFP2 มีประสิทธิภาพการกรองที่ใกล้เคียงกัน (94-95%)
- P2 มีประสิทธิภาพการกรองที่ต่ำกว่าเล็กน้อย (94%) แต่ก็ถือว่าอยู่ใน rank มาตรฐานเดียวกัน กับทั้ง 3 มาตรฐานข้างต้น
- N95 และ KN95 ทดสอบกับละอองขนาดเล็กกว่า (0.3 ไมครอน)
- P2 และ FFP2 ทดสอบกับละอองขนาดใหญ่กว่า (0.6 ไมครอน)
- เพราะฉะนั้น หากต้องการนำมาป้องกัน PM2.5 ที่มีขนาดของฝุ่นที่ 2.5 ไมครอน ซึ่งใหญ่กว่าขนาดฝุนละอองที่ถูกนำมาทดสอบ ดังที่จะดูได้จากตารางข้างต้น จึงสามารถมั่นใจได้ว่า หน้ากากทั้ง 4 มาตรฐาน สามารถป้องกันฝุ่น PM2.5 ได้ดี
โดยหน้ากากของยี่ห้อ 3M นั้นจะมีให้เลือกหลากหลายมาตรฐานดังนี้
มาตรฐาน N95



มาตรฐาน FFP2
- รุ่น 9320
- รุ่น 9322
มาตรฐาน KN95 และ P2




เป็นต้น
บทความที่เกี่ยวข้อง
การเลือกขนาดชุด Coverall (PPE) 3M ที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญทั้งในด้านความสบายและความปลอดภัย คู่มือนี้จะช่วยให้คุณหาขนาดที่เหมาะสมได้ในไม่กี่ขั้นตอน
11 ม.ค. 2025
มีหลายเหตุผลว่าทำไม หน้ากากที่ได้รับมาตรฐานต่างๆ ไม่วาจะเป็น NIOSH (USA), EN149:2001+A1:2009 (Europe), GB 2626-2006 (China) จึงนิยมทดสอบที่ละอองขนาด 0.3 ไมครอน หรือ 0.6ไมครอน:
2 มิ.ย. 2024
เรื่องที่หลายคนอาจมองข้าม แต่ส่งผลกระทบต่อดวงตาของเราทุกวัน นั่นคือรังสี UV จากแสงแดด มีปัญหาสุขภาพตามากมายที่เกิดจากการสัมผัสรังสี UV โดยไม่มีการป้องกันที่เหมาะสม โดยเฉพาะในกลุ่มคนวัยทำงานอย่างพวกเราที่ต้องเจอแดดทุกวัน
1 มิ.ย. 2024